http://www.mediafire.com/download/f2n917rgxmno3ik/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%87%E0%B8%9E%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%B2.doc
ยางพารา
ต้นยางพาราเป็นต้นไม้ยืนต้น [1]
มีถิ่นกำเนิดบริเวณลุ่มน้ำอเมซอน ประเทศบราซิล และเปรู ทวีปอเมริกาใต้
โดยชาวพื้นเมืองเรียกว่า คาอุท์ชุค [Caoutchouc] แปลว่าต้นไม้ร้องไห้ จนถึงปี พ.ศ.
2313 (1770) โจเซฟ พริสลี่ จึงพบว่า ยางสามารถนำมาลบรอยดำของดินสอได้
จึงเรียกว่าว่า ยางลบหรือตัวลบ [Rubber]
ซึ่งเป็นศัพท์ใช้ในอังกฤษและฮอลแลนด์เท่านั้น
ในอเมริกาใต้มีศูนย์กลางของการซื้อขายยางก็อยู่ที่เมืองท่าชื่อ พารา (Para) จึงมีชื่อเรียกว่า ยางพารา [2]
การปลูกยางในประเทศไทย
การปลูกยางในประเทศไทยไม่มีการบันทึกเป็นหลักฐานที่แน่นอน
แต่คาดว่าน่าจะเริ่มมีการปลูกในช่วงประมาณปี พ.ศ. 2442-2444 ซึ่งพระยารัษฏานุประดิษฐ์ มหิศรภักดี
หรือ คอซิมบี้ ณ ระนอง เจ้าเมืองตรังในขณะนั้น ได้นำเมล็ดยางพารามาปลูกที่อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง เป็นครั้งแรก ซึ่งชาวบ้านเรียกต้นยางชุดแรกนี้ว่า
"ต้นยางเทศา" [1]
และต่อมาได้มีการขยายพันธ์ยางมาปลูกในบริเวณจังหวัดตรัง และนราธิวาส ในปี พ.ศ. 2454 ได้มีการนำพันธุ์ยางมาปลูกในจังหวัดจันทบุรี ซึ่งเป็นภาคตะวันออกของประเทศไทย
โดยหลวงราชไมตรี หรือ ปูม ปุณศรี เป็นผู้นำพันธุ์ยางมาปลูก
และนับจากนั้นเป็นต้นมาได้มีการขยายพันธุ์ปลูกยางพารา ไปทั่วทั้ง 14
จังหวัด ในภาคใต้ และ 3 จังหวัดในภาคตะวันออก
นอกจากนี้ยังมีการขยายพันธุ์ยางมาปลูกในภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคเหนือ
ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 เป็นต้นมา ยางพาราก็กลายเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย
และมีการผลิตเป็นอันดับหนึ่งของโลก
ยางพาราประเภทยางดิบ
ผลิตภัณฑ์ยางและไม้ยางพารา สามารถทำรายได้การส่งออกเป็นอันดับสองของประเทศ
ยางพาราจึงถือว่าเป็นพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของประเทศไทย
และมีการส่งออกยางธรรมชาติมาเป็นอันดับหนึ่งของโลกมาตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534 ซึ่งในปี
2543 มีผลผลิตจากยางธรรมชาติประมาณ 2.4 ล้านตัน มีมูลค่าทั้งสิ้นประมาณ 124,000 ล้านบาท
เดิมพื้นที่ที่มีการปลูกยางส่วนใหญ่จะอยู่ในภาคใต้และภาคตะวันออก
แต่ในปัจจุบันมีการขยายการปลูกเพิ่มขึ้นไปยังภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวันตก โดยเฉพาะยางพาราจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างในเขตจังหวัดบุรีรัมย์และจังหวัดศรีสะเกษ
จัดเป็นยางพาราคุณภาพดีไม่ต่างจากแหล่งผลิตเดิมในเขตภาคใต้และภาคตะวันออก
พื้นที่ที่เหมาะแก่การปลูกยางทั่วประเทศมีทั้งหมด 55.1 ล้านไร่ แต่พื้นที่ปลูกจริง
มีประมาณ 12.4 ล้านไร่เท่านั้น
การกรีดยาง
การกรีดยางเพื่อให้สะดวกต่อการกรีด
และยังคงรักษาความสะอาดของถ้วยรองรับน้ำยางนั้นควรคำนึงถึงระดับความเอียง
ของรอยกรีดและความคมของมีดที่ใช้กรีดซึ่งต้องคมอยู่เสมอ[1]
- เวลากรีดยาง : ช่วงเวลาที่เหมาะสมในการกรีดยางมากที่สุดคือ ช่วง 6.00-8.00 น. เนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่สามารถมองเห็นต้นยางได้อย่างชัดเจนและได้ปริมาณน้ำ ยางใกล้เคียงกับการกรีดยางในตอนเช้ามืด แต่การกรีดยางในช่วงเวลา 1.00-4.00 น. จะให้ปริมาณยางมากกว่าการกรีดยางในตอนเช้าอยู่ร้อยละ 4-5 ซึ่งเป็นช่วงที่ได้ปริมาณน้ำยางมากที่สุดด้วย แต่การกรีดยางในตอนเช้ามืดมีข้อเสีย คือ ง่ายต่อการกรีดบาดเยื่อเจริญส่งผลให้เกิดโรคหน้ายางทั้งยังเป็นการสิ้น เปลืองและไม่มีความปลอดภัยจากสัตว์ร้ายหรือโจรผู้ร้าย
- การหยุดพักกรีด : ในฤดูแล้ง ใบไม้ผลัดใบหรือฤดูที่มีการผลิใบใหม่ จะหยุดพักการกรีดยางเนื่องจากมีผลต่อการเจริญเติบโตของใบและต้นยาง การกรีดยางในขณะที่ต้นยางเปียก จะทำให้เกิดโรคเส้นดำหรือเปลือกเน่าได้
- การเพิ่มจำนวนกรีด : สามารถเพิ่มจำนวนวันกรีดได้โดย
- การเพิ่มวันกรีด : สามารถกรีดในช่วงผลัดใบแต่จะได้น้ำยางในปริมาณน้อย ไม่ควรเร่งน้ำยางโดยใช้สารเคมีควรกรีดเท่าที่จำเป็นและในช่วงฤดูผลิใบต้อง ไม่มีการกรีดอีก
- การกรีดยางชดเชย : วันกรีดที่เสียไปในฤดูฝนสามารถกรีดทดแทนได้แต่ไม่ควรเกินกว่า 2 วันในรอยกรีดแปลงเดิม และสามารถกรีดสายในช่วงเวลา 6.00-8.00 น. หากเกิดฝนตกทั้งคืน
- การกรีดสาย : เมื่อต้นยางเปียกหรือเกิดฝนตกสามารถกรีดหลังเวลาปกติโดยการกรีดสายซึ่งจะ กรีดในช่วงเช้าหรือเย็นแต่ในช่วงอากาศร้อนจัดไม่ควรทำการกรีด
โรคและแมลงศัตรูยางพารา
1.โรคใบร่วงและฝักเน่า: โรคเกิดจากเชื้อรา
โดยมีอาการใบยางร่วงในขณะที่ใบยังสด
2.โรคราแป้ง : โรคเกิดจากเชื้อรา
โดยมีอาการปลายใบอ่อนบิดงอ เปลี่ยนเป็นสีดำและร่วง ใบแก่มีปุยสีขาวเทาใต้ใบ
เป็นแผลสีเหลืองก่อนที่จะเป็นเป็นรอยไหม้สีน้ำตาล
โรคและศัตรูยางพารา
ยางพาราเป็นพืชยืนต้นที่เกษตรกรจำเป็นต้องดูแลรักษาให้มีอายุอย่างน้อย 25-30 ปี จึงเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เกษตรกรจะต้องประสบปัญหาเรื่องโรคระบาดใน
ระยะใดระยะหนึ่งของการทำสวนยาง โรคยางพาราที่พบในประเทศไทยเกิดขึ้นได้ทุกระยะการเจริญเติบโต
และทุกส่วนของต้นยางแม้ว่ายางพาราจะมีโรคระบาดอยู่หลายชนิด และพันธุ์ยางที่นิยมปลูกในปัจจุบันจะอ่อนแอต่อโรคที่สำคัญแต่ความรุนแรงและ
ความสำคัญทางเศรษฐกิจของโรคขึ้นอยู่กับความแข็งแรงตามธรรมชาติของต้นยางซึ่ง มีสภาพภูมิอากาศและการปฏิบัติดูแลรักษาของเกษตรกรเป็นปัจจัยส่งเสริมหรือ
จำกัดโรคยางพาราที่ระบาดในประเทศไทยส่วนใหญ่มีสาเหตุจากเชื้อรา ซึ่งสามารถจำแนกตามส่วนต่างๆของต้นยางที่ถูกเชื้อเข้าทำลาย
ได้แก่ โรคใบ โรคกิ่งก้านและลำต้น และโรคราก
โรคราแป้ง (Powdery mildew)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา
ลักษณะอาการ ใบอ่อนร่วง ใบที่ไม่ร่วง แผ่นใบจะมีแผลขนาดไม่แน่นอนมีปุย เชื้อราสีขาวเทาปกคลุมอยู่ ต่อมาแผลจะเป็นรอยด่าง สีเหลืองซีดและกลายเป็นสีน้ำตาล
ดอกยางมีปุย เชื้อราปกคลุมก่อนที่จะดำ แล้วร่วง
การแพร่ระบาด ระบาดมากในพื้นที่ที่สภาพแวดล้อมกลางวันร้อน กลางคืนเย็นและชื้น ตอนเช้ามีหมอก พบในช่วงที่ต้นยางผลิใบใหม่
การป้องกันกำจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค หากระบาดฉีดพ่นด้วยสารเคมี
ลักษณะอาการ ใบอ่อนร่วง ใบที่ไม่ร่วง แผ่นใบจะมีแผลขนาดไม่แน่นอนมีปุย เชื้อราสีขาวเทาปกคลุมอยู่ ต่อมาแผลจะเป็นรอยด่าง สีเหลืองซีดและกลายเป็นสีน้ำตาล
ดอกยางมีปุย เชื้อราปกคลุมก่อนที่จะดำ แล้วร่วง
การแพร่ระบาด ระบาดมากในพื้นที่ที่สภาพแวดล้อมกลางวันร้อน กลางคืนเย็นและชื้น ตอนเช้ามีหมอก พบในช่วงที่ต้นยางผลิใบใหม่
การป้องกันกำจัด ปลูกยางพันธุ์ต้านทานโรค หากระบาดฉีดพ่นด้วยสารเคมี
โรคใบจุดนูน (Colletotrichum leaf spot)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Colletotrichum
gloeosporiodes (Penz.) Sacc.
ลักษณะอาการ ใบอ่อนที่ถูกเชื้อเข้าทำลาย ปลายใบจะบิดงอ เหี่ยวเน่าดำและหลุดล่วง ในระยะใบเพสลาด ใบบางส่วนอาจบิดงอและ พบจุดแผลสีน้ำตาล ขอบแผลสีเหลือง
ขนาดประมาณ 1-2 มม. เมื่อใบมีอายุมากขึ้น เนื้อตรงกลางแผลอาจทะลุเป็นรู ถ้าระบาดรุนแรงอาจพบแผลบนกิ่งอ่อนหรือยอดอ่อน
และทำให้เกิดอาการตายจากยอดได้
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงกับยางที่แตกใบอ่อน ในช่วงที่ฝนตกชุก ความชื้นสูง เชื้อแพร่ระบาดโดยน้ำฝน ลมและแมลง
พืชอาศัย ส้ม กล้วย มะละกอ ชา กาแฟ โกโก้ อาโวกาโด
การป้องกัน ต้นยางที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ใช้สารเคมีพ่นบนใบยางเมื่อเริ่มพบการระบาด
ลักษณะอาการ ใบอ่อนที่ถูกเชื้อเข้าทำลาย ปลายใบจะบิดงอ เหี่ยวเน่าดำและหลุดล่วง ในระยะใบเพสลาด ใบบางส่วนอาจบิดงอและ พบจุดแผลสีน้ำตาล ขอบแผลสีเหลือง
ขนาดประมาณ 1-2 มม. เมื่อใบมีอายุมากขึ้น เนื้อตรงกลางแผลอาจทะลุเป็นรู ถ้าระบาดรุนแรงอาจพบแผลบนกิ่งอ่อนหรือยอดอ่อน
และทำให้เกิดอาการตายจากยอดได้
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงกับยางที่แตกใบอ่อน ในช่วงที่ฝนตกชุก ความชื้นสูง เชื้อแพร่ระบาดโดยน้ำฝน ลมและแมลง
พืชอาศัย ส้ม กล้วย มะละกอ ชา กาแฟ โกโก้ อาโวกาโด
การป้องกัน ต้นยางที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ใช้สารเคมีพ่นบนใบยางเมื่อเริ่มพบการระบาด
โรคใบจุดก้างปลา (Corynespora leaf )
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Corynespora cassiicola (Burk.
& Curt.) Wei.
ลักษณะอาการ ใบอ่อนแสดงอาการเป็นแผลจุดกลม ขอบแผลสีน้ำตาลดำ กลางแผลสีซีดหรือเทา ถ้ารุนแรงใบจะบิดงอและร่วง ระยะใบ เพสลาดแผลจะกลมทึบสีน้ำตาลหรือดำ
ขอบแผลสีเหลืองและขยายลุกลามเข้าไปตามเส้นใบ ทำให้แผลมีลักษณะคล้ายก้างปลา เนื้อเยื่อบริเวณรอยแผลมีสีเหลืองถึงน้ำตาลและใบร่วงในที่สุด
ถ้าเชื้อเข้าทำลายส่วนของก้านใบ กิ่งแขนงและลำต้นที่ เป็นสีเขียว จะเป็นแผลสีดำมีลักษณะยาวรี เนื้อเยื่อตรงกลางแผลบุ๋มลง ถ้าอากาศเหมาะสมจะขยายขนาดและ
ลุกลาม ทำให้กิ่งหรือยอดที่เป็นโรคแห้งตาย
การแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดโดยลมและฝน โรคระบาดรุนแรงในสภาพอากาศร้อนและมีความชื้นสูง
พืชอาศัย มีมากกว่า 80 ชนิด ยกตัวอย่างเช่น งา ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ฝ้าย ยาสูบ มะละกอ แตงโม มะเขือเทศ ผักกาดหอม สะระแหน่ ฟักเขียว หญ้ายาง
และพืชคลุมตระกูลถั่ว
การป้องกันกำจัด 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยของเชื้อราเป็นพืชแซมยาง
2. ต้นยางที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ใช้สารเคมีพ่นพุ่มใบเมื่อเริ่มพบอาการของโรค
ลักษณะอาการ ใบอ่อนแสดงอาการเป็นแผลจุดกลม ขอบแผลสีน้ำตาลดำ กลางแผลสีซีดหรือเทา ถ้ารุนแรงใบจะบิดงอและร่วง ระยะใบ เพสลาดแผลจะกลมทึบสีน้ำตาลหรือดำ
ขอบแผลสีเหลืองและขยายลุกลามเข้าไปตามเส้นใบ ทำให้แผลมีลักษณะคล้ายก้างปลา เนื้อเยื่อบริเวณรอยแผลมีสีเหลืองถึงน้ำตาลและใบร่วงในที่สุด
ถ้าเชื้อเข้าทำลายส่วนของก้านใบ กิ่งแขนงและลำต้นที่ เป็นสีเขียว จะเป็นแผลสีดำมีลักษณะยาวรี เนื้อเยื่อตรงกลางแผลบุ๋มลง ถ้าอากาศเหมาะสมจะขยายขนาดและ
ลุกลาม ทำให้กิ่งหรือยอดที่เป็นโรคแห้งตาย
การแพร่ระบาด เชื้อราแพร่ระบาดโดยลมและฝน โรคระบาดรุนแรงในสภาพอากาศร้อนและมีความชื้นสูง
พืชอาศัย มีมากกว่า 80 ชนิด ยกตัวอย่างเช่น งา ถั่วเหลือง ถั่วเขียว ฝ้าย ยาสูบ มะละกอ แตงโม มะเขือเทศ ผักกาดหอม สะระแหน่ ฟักเขียว หญ้ายาง
และพืชคลุมตระกูลถั่ว
การป้องกันกำจัด 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยของเชื้อราเป็นพืชแซมยาง
2. ต้นยางที่มีอายุน้อยกว่า 2 ปี ใช้สารเคมีพ่นพุ่มใบเมื่อเริ่มพบอาการของโรค
โรคใบจุดตานก (Bird's eye spot)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Drechsiera (Helminthosporium) heveae
(Petch) M.B. Ellis
ลักษณะอาการ เชื้อเข้าทำลายระยะใบอ่อนมาก แผลหงิกงอเน่าดำและร่วง เหลือแต่ยอดที่บวมโต ใบยางอายุมากจะปรากฏจุดค่อน ข้างกลม
ขอบแผลสีน้ำตาลล้อมรอบซึ่งโปร่งแสง ถ้าเชื้อเข้าทำลายระยะใบแก่จะเป็นรอยจุดสีน้ำตาลเท่านั้น
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในแปลงกล้ายางที่ปลูกในดินทรายหรือดินที่อุดมสมบูรณ์ต่ำ แพร่ระบาดโดยลม ฝนหรือการสัมผัสโรค
การป้องกันกำจัด 1. หลีกเลี่ยงการปลูกต้นกล้ายางในดินทราย
2. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยคอกปรับสภาพดินให้อุ้มน้ำได้
3. ใช้สารเคมีพ่นใบยางเมื่อพบอาการของโรค
ลักษณะอาการ เชื้อเข้าทำลายระยะใบอ่อนมาก แผลหงิกงอเน่าดำและร่วง เหลือแต่ยอดที่บวมโต ใบยางอายุมากจะปรากฏจุดค่อน ข้างกลม
ขอบแผลสีน้ำตาลล้อมรอบซึ่งโปร่งแสง ถ้าเชื้อเข้าทำลายระยะใบแก่จะเป็นรอยจุดสีน้ำตาลเท่านั้น
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในแปลงกล้ายางที่ปลูกในดินทรายหรือดินที่อุดมสมบูรณ์ต่ำ แพร่ระบาดโดยลม ฝนหรือการสัมผัสโรค
การป้องกันกำจัด 1. หลีกเลี่ยงการปลูกต้นกล้ายางในดินทราย
2. ใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยคอกปรับสภาพดินให้อุ้มน้ำได้
3. ใช้สารเคมีพ่นใบยางเมื่อพบอาการของโรค
โรคใบร่วงที่เกิดจากเชื้อไฟทอปโทร่า (Phytopthora leaf fall)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Phytophthora botryosa
chee, P. palmivora (Butl.) Butl., P.nicotianae Van Breda
de Haan var. parasitica(Dastur) Waterhouse
ลักษณะอาการ ก้านใบเป็นรอยช้ำสีน้ำตาลเข้มถึงดำตามความยาวของก้านใบ แผลบริเวณทางเข้าของเชื้อมีหยดน้ำยางเล็กๆ เกาะติดอยู่ เมื่อสะบัดใบเบาๆ ใบย่อยจะหลุดทันที
ต่างจากการร่วงตามธรรมชาติ ซึ่งเมื่อสะบัดใบย่อยจะไม่ร่วง บางครั้งแผ่นใบอาจ เป็นแผลสีน้ำตาลเข้มถึงดำ ช้ำน้ำ ขนาดแผลไม่แน่นอน
หากเข้าทำลายฝักยางจะทำให้เน่า อาจพบเชื้อราสีขาวเจริญปกคลุม ฝักไม่แตกและไม่ร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อต่อไป
การแพร่ระบาด ระบาดรุโดยน้ำฝน ลม ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและจำนวนวันฝนตก เชื้อต้องการน้ำเพื่อการขยายพันธุ์ จึงระบาดได้ดีในสภาพอากาศเย็น ฝนตกชุก
ความชื้นสูงอย่างน้อย 4 วัน โดยมีแสงแดดน้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน
พืชอาศัย ส้ม ทุเรียน พริกไทย ปาล์ม โกโก้
การป้องกัน 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชแซมยาง
2. กำจัดวัชพืชและตัดแต่งกิ่งในสวนยางให้อากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดความชื้น
3. หากระบาดกับต้นยางอายุน้อยกว่า 2 ปี ป้องกันกำจัดโดยพ่นสารเคมี
4. ต้นยางใหญ่ที่เป็นโรครุนแรงจนใบร่วงหมดต้น ให้หยุดกรีดยางและบำรุงต้นให้สมบูรณ์
ลักษณะอาการ ก้านใบเป็นรอยช้ำสีน้ำตาลเข้มถึงดำตามความยาวของก้านใบ แผลบริเวณทางเข้าของเชื้อมีหยดน้ำยางเล็กๆ เกาะติดอยู่ เมื่อสะบัดใบเบาๆ ใบย่อยจะหลุดทันที
ต่างจากการร่วงตามธรรมชาติ ซึ่งเมื่อสะบัดใบย่อยจะไม่ร่วง บางครั้งแผ่นใบอาจ เป็นแผลสีน้ำตาลเข้มถึงดำ ช้ำน้ำ ขนาดแผลไม่แน่นอน
หากเข้าทำลายฝักยางจะทำให้เน่า อาจพบเชื้อราสีขาวเจริญปกคลุม ฝักไม่แตกและไม่ร่วงหล่นตามธรรมชาติ กลายเป็นแหล่งสะสมเชื้อต่อไป
การแพร่ระบาด ระบาดรุโดยน้ำฝน ลม ความรุนแรงขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำฝนและจำนวนวันฝนตก เชื้อต้องการน้ำเพื่อการขยายพันธุ์ จึงระบาดได้ดีในสภาพอากาศเย็น ฝนตกชุก
ความชื้นสูงอย่างน้อย 4 วัน โดยมีแสงแดดน้อยกว่า 3 ชั่วโมงต่อวัน
พืชอาศัย ส้ม ทุเรียน พริกไทย ปาล์ม โกโก้
การป้องกัน 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชแซมยาง
2. กำจัดวัชพืชและตัดแต่งกิ่งในสวนยางให้อากาศถ่ายเทสะดวก เพื่อลดความชื้น
3. หากระบาดกับต้นยางอายุน้อยกว่า 2 ปี ป้องกันกำจัดโดยพ่นสารเคมี
4. ต้นยางใหญ่ที่เป็นโรครุนแรงจนใบร่วงหมดต้น ให้หยุดกรีดยางและบำรุงต้นให้สมบูรณ์
โรคเส้นดำ (Black stripe)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Phytophthora botryosa chee, P.
palmivora (Butl.) Butl.
ลักษณะอาการ เหนือรอยกรีดเป็นรอยช้ำ ต่อมาเป็นรอยบุ๋มสีดำหรือสีน้ำตาลดำตามแนวยาวของลำต้น เมื่อเฉือนเปลือกบริเวณรอยบุ๋มสีดำ จะเห็นลายเส้นสีดำบนเนื้อไม้
และอาจลุกลามลงใต้รอยกรีด ถ้าอาการรุนแรง เปลือกบริเวณที่เป็นโรคปริเน่า มีน้ำยางไหล เปลือกเน่าหลุดออกมา ถ้าเชื้อเข้าทำลายไม่รุนแรง
เปลือกงอกใหม่จะเป็นปุ่มปม
การแพร่ระบาด เชื้อบนฝักและใบที่เป็นโรคถูกชะล้างโดยน้ำฝนลงมาที่หน้ากรีด พบระบาดรุนแรงเมื่อกรีดยางติดต่อกันในฤดูฝนโดยไม่มี การป้องกันรักษาหน้ากรีด
โดยเฉพาะเมื่อความชื้นสูงกว่า 90% หน้ากรีดจะเปียกอยู่ตลอดเวลา เหมาะต่อการขยายพันธุ์ของเชื้อ
พืชอาศัย เชื้อรา P.palmivora สามารถเข้าทำลายพืชอื่นได้หลายชนิด เช่น มะละกอ แตงโม ส้ม ทุเรียน พริกไทย โกโก้ มะพร้าว ยาสูบ ส่วนเชื้อรา P.botryosa
สามารถเข้าทำลาย ทุเรียน ส้ม และกล้วยไม้ได้
การป้องกัน 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชแซมยาง
2.หลีกเลี่ยงการเปิดกรีดยางในฤดูฝน ในพื้นที่ที่มีโรคระบาดรุนแรง
3.ระยะที่มีโรคใบร่วงระบาดใช้สารเคมีป้องกันโรคที่หน้ากรีด
ลักษณะอาการ เหนือรอยกรีดเป็นรอยช้ำ ต่อมาเป็นรอยบุ๋มสีดำหรือสีน้ำตาลดำตามแนวยาวของลำต้น เมื่อเฉือนเปลือกบริเวณรอยบุ๋มสีดำ จะเห็นลายเส้นสีดำบนเนื้อไม้
และอาจลุกลามลงใต้รอยกรีด ถ้าอาการรุนแรง เปลือกบริเวณที่เป็นโรคปริเน่า มีน้ำยางไหล เปลือกเน่าหลุดออกมา ถ้าเชื้อเข้าทำลายไม่รุนแรง
เปลือกงอกใหม่จะเป็นปุ่มปม
การแพร่ระบาด เชื้อบนฝักและใบที่เป็นโรคถูกชะล้างโดยน้ำฝนลงมาที่หน้ากรีด พบระบาดรุนแรงเมื่อกรีดยางติดต่อกันในฤดูฝนโดยไม่มี การป้องกันรักษาหน้ากรีด
โดยเฉพาะเมื่อความชื้นสูงกว่า 90% หน้ากรีดจะเปียกอยู่ตลอดเวลา เหมาะต่อการขยายพันธุ์ของเชื้อ
พืชอาศัย เชื้อรา P.palmivora สามารถเข้าทำลายพืชอื่นได้หลายชนิด เช่น มะละกอ แตงโม ส้ม ทุเรียน พริกไทย โกโก้ มะพร้าว ยาสูบ ส่วนเชื้อรา P.botryosa
สามารถเข้าทำลาย ทุเรียน ส้ม และกล้วยไม้ได้
การป้องกัน 1. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชแซมยาง
2.หลีกเลี่ยงการเปิดกรีดยางในฤดูฝน ในพื้นที่ที่มีโรคระบาดรุนแรง
3.ระยะที่มีโรคใบร่วงระบาดใช้สารเคมีป้องกันโรคที่หน้ากรีด
โรคราสีชมพู (Pink disease)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Corticium salmonicolor
Berk. & Br.
ลักษณะอาการ
เริ่มแรกเปลือกบริเวณคาคบ กิ่งก้าน
ลำต้น
บริเวณที่ถูกทำลายจะเป็นรอยปริมีน้ำยางไหลติดอยู่ตามเปลือก เมื่ออากาศชื้นจะเห็นเส้นใยสีขาวที่เปลือกยาง แ
ผลจะขยายเป็นบริเวณกว้างออกไป เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะมองเห็นเป็นสีชมพู ซึ่งเป็นระยะที่เชื้อเจริญเข้าไปในเปลือกและลุกลามไปยังลำต้น ทำให้เปลือกแตก
และกะเทาะออก น้ำยางไหลออกมาจับบตามกิ่งก้านและลำต้นเป็นทางเมื่อน้ำยางแห้งจะมีราดำเข้าจับเป็นทางสีดำ ใต้บริเวณแผลจะมีการแตกกิ่งใหม่ขึ้นมากมาย
ใบยางเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกิดอาการตายจากยอด เมื่อสภาพแวดดล้อมไม่เหมาะสม เชื้อราจะพักตัว สีชมพูที่เคยปรากฏจะ ซีดลงจนเป็นสีขาว
เมื่อถึงฤดูฝนปีถัดไปจะเริ่มลุกลามต่อไป
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศชุ่มชื้น มีปริมาณน้ำฝนสูง เมื่ออากาศแห้งเชื้อราจะพักตัวและเจริญลุกลามต่อในฤดูฝนปี ถัดไป เชื้อแพร่กระจายโดยลมและฝน
พืชอาศัย กาแฟ โกโก้ ชา มะม่วง ขนุน ทุเรียน เงาะ
การป้องกันกำจัด 1. ตัดแต่งกิ่งก้านและกำจัดวัชพืชในสวนยางให้โล่งเตียน เพื่อลดความชื้นและความรุนแรงของโรค
2. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชร่วมหรือพืชแซมยาง
3. ต้นยางอายุน้อยถ้าเป็นโรครุนแรงถึงกิ่งแห้งตายและมีกิ่งใหม่งอกใต้รอยแผล ควรตัดแต่งแห้งตายทิ้ง โดยตัดให้ต่ำกว่า
รอยแผลประมาณ 2-3 นิ้ว แล้วทาด้วยสารเคมีเคลือบบาดแผล
4. ต้นยางที่ยังไม่เปิดกรีด เมื่อเป็นโรคแนะนำให้ใช้สารเคมีบอร์โดมิกซ์เจอร์ (bordeaux mixture) ที่มีอัตราส่วนผสมจุนสี
หนัก 120 กรัม ปูนขาวนัก 240 กรัม (ถ้าเป็นปูนเผาใหม่ใช้ประมาณ 150 กรัม) ผสมน้ำ 10 ลิตรโดยผสมใหม่ๆ ทา
บริเวณที่เป็นโรค ไม่แนะนำให้ใช้กับต้นยางที่เปิดกรีดแล้ว เนื่องจากสารทองแดงที่เป็นส่วนผสมของบอร์โดมิกซ์เจอร์
จะไหลลงไปผสมกับน้ำยางที่กรีดได้ ทำให้คุณภาพน้ำยางเสื่อมลง
5. เมื่อตรวจพบต้นที่เป็นโรคให้ขูดเปลือกบริเวณเป็นแผลออกก่อนแล้วทาด้วยสารเคมี
ผลจะขยายเป็นบริเวณกว้างออกไป เมื่อเชื้อเจริญเต็มที่จะมองเห็นเป็นสีชมพู ซึ่งเป็นระยะที่เชื้อเจริญเข้าไปในเปลือกและลุกลามไปยังลำต้น ทำให้เปลือกแตก
และกะเทาะออก น้ำยางไหลออกมาจับบตามกิ่งก้านและลำต้นเป็นทางเมื่อน้ำยางแห้งจะมีราดำเข้าจับเป็นทางสีดำ ใต้บริเวณแผลจะมีการแตกกิ่งใหม่ขึ้นมากมาย
ใบยางเปลี่ยนเป็นสีเหลือง เกิดอาการตายจากยอด เมื่อสภาพแวดดล้อมไม่เหมาะสม เชื้อราจะพักตัว สีชมพูที่เคยปรากฏจะ ซีดลงจนเป็นสีขาว
เมื่อถึงฤดูฝนปีถัดไปจะเริ่มลุกลามต่อไป
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในสภาพอากาศชุ่มชื้น มีปริมาณน้ำฝนสูง เมื่ออากาศแห้งเชื้อราจะพักตัวและเจริญลุกลามต่อในฤดูฝนปี ถัดไป เชื้อแพร่กระจายโดยลมและฝน
พืชอาศัย กาแฟ โกโก้ ชา มะม่วง ขนุน ทุเรียน เงาะ
การป้องกันกำจัด 1. ตัดแต่งกิ่งก้านและกำจัดวัชพืชในสวนยางให้โล่งเตียน เพื่อลดความชื้นและความรุนแรงของโรค
2. ไม่ควรปลูกพืชอาศัยเป็นพืชร่วมหรือพืชแซมยาง
3. ต้นยางอายุน้อยถ้าเป็นโรครุนแรงถึงกิ่งแห้งตายและมีกิ่งใหม่งอกใต้รอยแผล ควรตัดแต่งแห้งตายทิ้ง โดยตัดให้ต่ำกว่า
รอยแผลประมาณ 2-3 นิ้ว แล้วทาด้วยสารเคมีเคลือบบาดแผล
4. ต้นยางที่ยังไม่เปิดกรีด เมื่อเป็นโรคแนะนำให้ใช้สารเคมีบอร์โดมิกซ์เจอร์ (bordeaux mixture) ที่มีอัตราส่วนผสมจุนสี
หนัก 120 กรัม ปูนขาวนัก 240 กรัม (ถ้าเป็นปูนเผาใหม่ใช้ประมาณ 150 กรัม) ผสมน้ำ 10 ลิตรโดยผสมใหม่ๆ ทา
บริเวณที่เป็นโรค ไม่แนะนำให้ใช้กับต้นยางที่เปิดกรีดแล้ว เนื่องจากสารทองแดงที่เป็นส่วนผสมของบอร์โดมิกซ์เจอร์
จะไหลลงไปผสมกับน้ำยางที่กรีดได้ ทำให้คุณภาพน้ำยางเสื่อมลง
5. เมื่อตรวจพบต้นที่เป็นโรคให้ขูดเปลือกบริเวณเป็นแผลออกก่อนแล้วทาด้วยสารเคมี
โรคลำต้นเน่าของยางชำถุง (Twig rot of polybagrubber)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Phytophthora nicotianae
Van Breda de Haan var. parasitica (Dastur)
Waterhouse, P. palmivora (Butl.) Butl.
ลักษณะอาการ เชื้อราทำลายกิ่งแขนงที่แตกออกจากตาของยางพันธุ์ดี เกิดรอยแผลสีน้ำตาลเข้มหรือดำช้ำเป็นรูปยาวรีไปตามความยาวของ ลำต้น และขยายลุกลามไปรอบต้น
ทำให้กิ่งแขนงเหี่ยวแห้งตาย
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในช่วงที่ฝนตกชุกและมีความชื้นในอากาศสูง แปลงเพาะชำยางชำถุงที่มีการจัดวางถุงซ้อนกันหลายแถว หรือแปลงที่มีการให้น้ำด้วยสปริงเกล์อ
จะเกิดการระบาดของโรคได้ง่าย
การป้องกันกำจัด 1. ไม่ควรนำดินชำถุงหรือดินบริเวณที่เคยมีการระบาดของโรคมาใช้ซ้ำ
2. ปรับสภาพเรือนเพาะชำยางชำถุงไม่ให้แน่นทึบเกินไป อากาศถ่ายเทได้สะดวก
3. ให้พบต้นยางเป็นโรคให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออกหรือแยกออกจากปลงเพาะชำมาทำลาย
4. กรณีพบโรคระบาดใช้สารเคมีฉีดพ่นเพื่อช่วยควบคุมโรค
ลักษณะอาการ เชื้อราทำลายกิ่งแขนงที่แตกออกจากตาของยางพันธุ์ดี เกิดรอยแผลสีน้ำตาลเข้มหรือดำช้ำเป็นรูปยาวรีไปตามความยาวของ ลำต้น และขยายลุกลามไปรอบต้น
ทำให้กิ่งแขนงเหี่ยวแห้งตาย
การแพร่ระบาด ระบาดรุนแรงในช่วงที่ฝนตกชุกและมีความชื้นในอากาศสูง แปลงเพาะชำยางชำถุงที่มีการจัดวางถุงซ้อนกันหลายแถว หรือแปลงที่มีการให้น้ำด้วยสปริงเกล์อ
จะเกิดการระบาดของโรคได้ง่าย
การป้องกันกำจัด 1. ไม่ควรนำดินชำถุงหรือดินบริเวณที่เคยมีการระบาดของโรคมาใช้ซ้ำ
2. ปรับสภาพเรือนเพาะชำยางชำถุงไม่ให้แน่นทึบเกินไป อากาศถ่ายเทได้สะดวก
3. ให้พบต้นยางเป็นโรคให้ตัดส่วนที่เป็นโรคออกหรือแยกออกจากปลงเพาะชำมาทำลาย
4. กรณีพบโรคระบาดใช้สารเคมีฉีดพ่นเพื่อช่วยควบคุมโรค
โรครากขาว (disease white root)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Rigidoporus
lignosus (Klotzsch) lmazeki
ลักษณะอาการ เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายต้นยางได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป เมื่อระบบรากถูทำลายจะแสดง
อาการให้เห็นที่ทรงพุ่ม ซึ่งเป็นระยะที่รุนแรงและไม่สามารถรักษาได้ บริเวณรากที่ถูกเชื้อเข้าทำลายจะปรากฏเส้นใยราสี
ขาวเจริญแตกสาขาปกคลุม เกาะติดแน่นกับผิวราก เมื่อเส้นใยอายุมากขึ้นจะกลายเป็นเส้นกลมนูนสีเหลืองซีด เนื้อไม้
ของรากที่เป็นโรคในระยะแรกจะแข็งกระด้างเป็นสีน้ำตาลซีดในระยะรุนแรงจะกลายเป็นสีครีม ถ้าอยู่ในที่ชื้นแฉะจะอ่อน
นิ่ม ดอกเห็ดมีลักษณะเป็นแผ่นครึ่งวงกลมแผ่นเดียวหรือซ้อนกันเป็นชั้นๆ ผิวด้านบนเป็นสีเหลืองส้ม โดยมีสีเข้มอ่อน
เรียงสลับกันเป็นวง ผิวด้านล่างเป็นสีส้มแดงหรือสีน้ำตาล ขอบดอกเห็ดเป็นสีขาว
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงฤดูฝนซึ่งมีฝนตกชุก ความชื้นสูง
ลักษณะอาการ เชื้อโรคสามารถเข้าทำลายต้นยางได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ตั้งแต่อายุ 1 ปีขึ้นไป เมื่อระบบรากถูทำลายจะแสดง
อาการให้เห็นที่ทรงพุ่ม ซึ่งเป็นระยะที่รุนแรงและไม่สามารถรักษาได้ บริเวณรากที่ถูกเชื้อเข้าทำลายจะปรากฏเส้นใยราสี
ขาวเจริญแตกสาขาปกคลุม เกาะติดแน่นกับผิวราก เมื่อเส้นใยอายุมากขึ้นจะกลายเป็นเส้นกลมนูนสีเหลืองซีด เนื้อไม้
ของรากที่เป็นโรคในระยะแรกจะแข็งกระด้างเป็นสีน้ำตาลซีดในระยะรุนแรงจะกลายเป็นสีครีม ถ้าอยู่ในที่ชื้นแฉะจะอ่อน
นิ่ม ดอกเห็ดมีลักษณะเป็นแผ่นครึ่งวงกลมแผ่นเดียวหรือซ้อนกันเป็นชั้นๆ ผิวด้านบนเป็นสีเหลืองส้ม โดยมีสีเข้มอ่อน
เรียงสลับกันเป็นวง ผิวด้านล่างเป็นสีส้มแดงหรือสีน้ำตาล ขอบดอกเห็ดเป็นสีขาว
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงฤดูฝนซึ่งมีฝนตกชุก ความชื้นสูง
พืชอาศัย ทุเรียน ขนุน จำปาดะ
มังคุด มะพร้าว ไผ่ ส้ม โกโก้
ชา กาแฟ เนียงนก
พริกไทย พริกขี้หนู น้อยหน่า
มันสำปะหลัง สะเดาบ้าน สะเดาเทียม ทัง มะเขือ เปราะ กระทกรก มันเทศ ลองกอง
มันสำปะหลัง สะเดาบ้าน สะเดาเทียม ทัง มะเขือ เปราะ กระทกรก มันเทศ ลองกอง
โรครากแดง (Red root disease)
สาเหตุ
เกิดจากเชื้อรา Ganoderma
pseudoferreum (Wakef) Over & Steinm
ลักษณะอาการของโรค มักพบการระบาดในสวนยางที่มีตอและรากไม้ใหญ่ๆ ฝังลึกลงในดิน เชื้อราเจริญเติบโตค่อนข้างช้า จึงมักพบกับ
ต้นยางที่กรีดแล้วเป็นส่วนใหญ่ต้นที่ถูกเชื้อเข้าทำลายจะแสดงอาการที่ทรงพุ่มเช่นเดียวกับโรครากขาว ส่วนรากที่
ถูกเชื้อเข้าทำลายจะถูกปกคลุมด้วยเส้นใยสีน้ำตาลแดง ส่วนปลายของเชื้อราที่กำลังเจริญจะเป็นสีขาวครีม ลักษณะ
เส้นใยแก่จะจับกันเป็นแผ่นสีน้ำตาลแดงเป็นมันวาวเห็นได้ชัดเจนเมื่อล้างน้ำ รากมีลักษณะขรุขระ เนื่องจากมีก้อน
ดิน หิน เกาะติดอยู่ เนื้อไม้ของรากเป็นสีน้ำตาลซีดและเป็นสีเนื้อในเวลาต่อมา วงปีของเนื้อไม้จะหลุดแยกออกจาก
กันได้ง่าย ดอกเห็ดเป็นแผ่นแข็งด้านบนเป็นรอยย่นสีน้ำตาลแดงเข้ม ด้านล่างเป็นสีขี้เถ้า ขอบดอกเป็นสีขาวครีม
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงที่ฝนตกชุก ความชื้นสูง
พืชอาศัย ทุเรียน ขนุน จำปาดะ สัก สะเดาบ้าน ทัง โกโก้ กาแฟ ชา เงาะ พืชตระกูลถั่ว ลองกอง สะตอ
ลักษณะอาการของโรค มักพบการระบาดในสวนยางที่มีตอและรากไม้ใหญ่ๆ ฝังลึกลงในดิน เชื้อราเจริญเติบโตค่อนข้างช้า จึงมักพบกับ
ต้นยางที่กรีดแล้วเป็นส่วนใหญ่ต้นที่ถูกเชื้อเข้าทำลายจะแสดงอาการที่ทรงพุ่มเช่นเดียวกับโรครากขาว ส่วนรากที่
ถูกเชื้อเข้าทำลายจะถูกปกคลุมด้วยเส้นใยสีน้ำตาลแดง ส่วนปลายของเชื้อราที่กำลังเจริญจะเป็นสีขาวครีม ลักษณะ
เส้นใยแก่จะจับกันเป็นแผ่นสีน้ำตาลแดงเป็นมันวาวเห็นได้ชัดเจนเมื่อล้างน้ำ รากมีลักษณะขรุขระ เนื่องจากมีก้อน
ดิน หิน เกาะติดอยู่ เนื้อไม้ของรากเป็นสีน้ำตาลซีดและเป็นสีเนื้อในเวลาต่อมา วงปีของเนื้อไม้จะหลุดแยกออกจาก
กันได้ง่าย ดอกเห็ดเป็นแผ่นแข็งด้านบนเป็นรอยย่นสีน้ำตาลแดงเข้ม ด้านล่างเป็นสีขี้เถ้า ขอบดอกเป็นสีขาวครีม
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงที่ฝนตกชุก ความชื้นสูง
พืชอาศัย ทุเรียน ขนุน จำปาดะ สัก สะเดาบ้าน ทัง โกโก้ กาแฟ ชา เงาะ พืชตระกูลถั่ว ลองกอง สะตอ
โรครากน้ำตาล (Brown root disease)
สาเหตุ เกิดจากเชื้อรา Phellinus noxius (Corner) G.H. Cunn
ลักษณะอาการของโรค มักพบกับต้นยางที่หักโค่น อาการสังเกตจากทรงพุ่มมีลักษณะเหมือนโรครากขาวและโรครากแดง แยกชนิดโรค
ได้จากบริเวณรากที่ถูกทำลาย จะปรากฏเส้นใยสีน้ำตาลปนเหลือง เป็นขุยเหมือนกำมะหยี่ ปกคลุมผิวรากและเกาะ
ยึดดินทรายไว้ ทำให้รากมีลักษณะขรุขระ เส้นใยเมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาลดำ เนื้อไม้ในระยะแรกจะเป็นสีน้ำตาลซีด
ต่อมาเป็นสีน้ำตาลเป็นเส้นเดี่ยวลายสลับฟันปลาอยู่ในเนื้อไม้ รากที่เป็นโรคมานาน เมื่อตัดตามขวางจะเห็นสายเส้น
ใยที่แทรกในเนื้อไม้มีลักษณะคล้ายรวงผึ้ง เนื้อไม้จะเบาและแห้ง ดอกเห็ดเป็นแผ่นหนาแข็ง ลักษณะครึ่งวงกลม
ค่อนข้างเล็ก ผิวด้านบนเป็นรอยย่นเป็นวงสีน้ำตาลเข้ม ผิวด้านล่างเป็นสีเทา
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงฤดูฝนซึ่งมีฝนตกชุก ความชื้นสูง
พืชอาศัย ทุเรียน มังคุด ลองกอง สละ สะเดาบ้าน มะฮอกกานี สัก ปาล์มน้ำ โกโก้ ส้ม กาแฟ เงาะ
การป้องกันกำจัดโรครากของยางพารา
1. เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยการขุดทำลายตอยางเก่า ซึ่งเป็นแหล่งสะสมโรคออกให้หมด
2. ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังการเตรียมดินควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อปรับสภาพดิน
3. หลังปลูกยาง 1 ปี ตรวจหาต้นที่เป็นโรคราก เมื่อพบขุดทำลายเสียแล้วป้องกันโรคต้นข้างเคียงด้วยสารเคมี
4. ต้นยางที่เป็นโรคหากอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ขุดคูรอบต้น (กว้าง 30 ซม. ลึก 60 ซม.) เพื่อป้องกันรากยางสัมผัสต้นที่เป็นโรค
5. ไม่ควรปลูกพืชร่วมหรือพืชแซมที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อโรค
6. ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรคเพียงเล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียงที่เป็นโรค
ลักษณะอาการของโรค มักพบกับต้นยางที่หักโค่น อาการสังเกตจากทรงพุ่มมีลักษณะเหมือนโรครากขาวและโรครากแดง แยกชนิดโรค
ได้จากบริเวณรากที่ถูกทำลาย จะปรากฏเส้นใยสีน้ำตาลปนเหลือง เป็นขุยเหมือนกำมะหยี่ ปกคลุมผิวรากและเกาะ
ยึดดินทรายไว้ ทำให้รากมีลักษณะขรุขระ เส้นใยเมื่อแก่จะเป็นสีน้ำตาลดำ เนื้อไม้ในระยะแรกจะเป็นสีน้ำตาลซีด
ต่อมาเป็นสีน้ำตาลเป็นเส้นเดี่ยวลายสลับฟันปลาอยู่ในเนื้อไม้ รากที่เป็นโรคมานาน เมื่อตัดตามขวางจะเห็นสายเส้น
ใยที่แทรกในเนื้อไม้มีลักษณะคล้ายรวงผึ้ง เนื้อไม้จะเบาและแห้ง ดอกเห็ดเป็นแผ่นหนาแข็ง ลักษณะครึ่งวงกลม
ค่อนข้างเล็ก ผิวด้านบนเป็นรอยย่นเป็นวงสีน้ำตาลเข้ม ผิวด้านล่างเป็นสีเทา
การแพร่ระบาด ระบาดรวดเร็วในช่วงฤดูฝนซึ่งมีฝนตกชุก ความชื้นสูง
พืชอาศัย ทุเรียน มังคุด ลองกอง สละ สะเดาบ้าน มะฮอกกานี สัก ปาล์มน้ำ โกโก้ ส้ม กาแฟ เงาะ
การป้องกันกำจัดโรครากของยางพารา
1. เตรียมพื้นที่ปลูกให้ปลอดโรค โดยการขุดทำลายตอยางเก่า ซึ่งเป็นแหล่งสะสมโรคออกให้หมด
2. ในแหล่งที่มีโรคระบาด หลังการเตรียมดินควรปลูกพืชคลุมดินตระกูลถั่วเพื่อปรับสภาพดิน
3. หลังปลูกยาง 1 ปี ตรวจหาต้นที่เป็นโรคราก เมื่อพบขุดทำลายเสียแล้วป้องกันโรคต้นข้างเคียงด้วยสารเคมี
4. ต้นยางที่เป็นโรคหากอายุมากกว่า 3 ปีขึ้นไป ขุดคูรอบต้น (กว้าง 30 ซม. ลึก 60 ซม.) เพื่อป้องกันรากยางสัมผัสต้นที่เป็นโรค
5. ไม่ควรปลูกพืชร่วมหรือพืชแซมที่เป็นพืชอาศัยของเชื้อโรค
6. ใช้สารเคมีสำหรับรักษาต้นที่เป็นโรคเพียงเล็กน้อย และใช้กับต้นข้างเคียงที่เป็นโรค
อาการเปลือกแห้ง (Tapping panel dryness)
สาเหตุ ยังไม่ทราบสาเหตุที่แน่นอนแต่มีรายงานว่าเป็นความผิดปกติทางสรีรวิทยาของต้นยางที่ถูกชักนำโดยหลายปัจจัย อาทิ
การใช้ระบบกรีดหักโหม การใช้สารเคมีเร่งน้ำยาง ความผิดปกติของพันธุ์ และสภาพแวดล้อม
ลักษณะอาการ น้ำยางจางลง หลังกรีดแล้วน้ำยางแห้งเป็นจุดๆ และยกออกจากกันเป็นชั้นๆ ถ้ายังกรีดต่อเปลือกยางจะแห้งสนิท
เปลือกใต้รอยกรีดแตก ขยายบริเวณจนถึงพื้นดินและหลุดออก
การป้องกันและแก้ไข 1. หากเริ่มแสดงอาการให้หยุดกรีดทันที อย่างน้อย 6-12 เดือน หรือจนกว่าน้ำยางจะไหลเป็นปกติ
2. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นยางตามคำแนะนำของสถาบันวิจัยยางปีละ 2 ครั้ง
3. ใช้ระบบกรีดให้เหมาะสมกับพันธุ์ยางและไม่กรีดหักโหมติดต่อกันนานๆ
4. ไม่ควรใช้สารเคมีเร่งน้ำยางสำหรับสวนยางที่พบอาการเปลือกแห้ง
การใช้ระบบกรีดหักโหม การใช้สารเคมีเร่งน้ำยาง ความผิดปกติของพันธุ์ และสภาพแวดล้อม
ลักษณะอาการ น้ำยางจางลง หลังกรีดแล้วน้ำยางแห้งเป็นจุดๆ และยกออกจากกันเป็นชั้นๆ ถ้ายังกรีดต่อเปลือกยางจะแห้งสนิท
เปลือกใต้รอยกรีดแตก ขยายบริเวณจนถึงพื้นดินและหลุดออก
การป้องกันและแก้ไข 1. หากเริ่มแสดงอาการให้หยุดกรีดทันที อย่างน้อย 6-12 เดือน หรือจนกว่าน้ำยางจะไหลเป็นปกติ
2. ใส่ปุ๋ยบำรุงต้นยางตามคำแนะนำของสถาบันวิจัยยางปีละ 2 ครั้ง
3. ใช้ระบบกรีดให้เหมาะสมกับพันธุ์ยางและไม่กรีดหักโหมติดต่อกันนานๆ
4. ไม่ควรใช้สารเคมีเร่งน้ำยางสำหรับสวนยางที่พบอาการเปลือกแห้ง
อาการตายจากยอด (Die back)
สาเหตุ 1. อากาศแห้งแล้งจัดเป็นเวลานานติดต่อกัน
ทำให้ดินบริเวณรอบๆ รากขาดน้ำ หรือในดินทรายจัดซึ่งมีลักษณะไม่อุ้มน้ำ
2. การมีแผ่นหินดานหรือโครงสร้างคล้ายหินดานอยู่ใต้พื้นดินระดับสูงกว่า 1 เมตรขึ้นมา
3. เชื้อสาเหตุโรคบางชนิดเข้าทำลาย เช่น โรคใบจุดนูน โรคราแป้ง โรคใบจุดก้างปลา
4. สารเคมีตกค้างในดิน เช่น สารเคมีป้องกันกำตัดศัตรูพืช การใส่ปุ๋ยมากเกินไป
ลักษณะอาการ ใบอ่อนเริ่มเหี่ยวและแห้งจากปลายกิ่งหรือปลายยอด ลุกลามเข้าหาส่วนโคนทีละน้อย ถ้าอาการเป็นไปอย่างช้าๆ ส่วน
ของกิ่งหรือลำต้นที่ยังไม่ตายจะแตกแขนงใหม่ เพื่อเจริญเติบโตต่อไป แต่ถ้าอาการแห้งตายเป็นไปอย่างรวดเร็ว จะแห้ง
ตายตลอดต้นในระยะเวลาอันสั้น เปลือกล่อนออกจากเนื้อไม้ มองเห็นเชื้อราสีดำหรือขาวเกิดขึ้นบริเวณด้านในของเปลือก
การป้องกันรักษา 1. ตัดกิ่งหรือยอดส่วนที่แห้งออก โดยตัดให้ต่ำลงมา 1-2 นิ้ว แล้ทาแผลด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา
2. บำรุงรักษาต้นยางให้สมบูรณ์อยู่เสมอ
3. พยายามแก้ไขสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น ความแห้งแล้งให้รดน้ำตามความจำเป็น หรือใช้วัสดุคลุมดินรอบโคนต้น
4. ถ้าเกิดโรคระบาดให้ทำการรักษาตามคำแนะนำ
5. การใช้ปุ๋ยและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ควรปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด
2. การมีแผ่นหินดานหรือโครงสร้างคล้ายหินดานอยู่ใต้พื้นดินระดับสูงกว่า 1 เมตรขึ้นมา
3. เชื้อสาเหตุโรคบางชนิดเข้าทำลาย เช่น โรคใบจุดนูน โรคราแป้ง โรคใบจุดก้างปลา
4. สารเคมีตกค้างในดิน เช่น สารเคมีป้องกันกำตัดศัตรูพืช การใส่ปุ๋ยมากเกินไป
ลักษณะอาการ ใบอ่อนเริ่มเหี่ยวและแห้งจากปลายกิ่งหรือปลายยอด ลุกลามเข้าหาส่วนโคนทีละน้อย ถ้าอาการเป็นไปอย่างช้าๆ ส่วน
ของกิ่งหรือลำต้นที่ยังไม่ตายจะแตกแขนงใหม่ เพื่อเจริญเติบโตต่อไป แต่ถ้าอาการแห้งตายเป็นไปอย่างรวดเร็ว จะแห้ง
ตายตลอดต้นในระยะเวลาอันสั้น เปลือกล่อนออกจากเนื้อไม้ มองเห็นเชื้อราสีดำหรือขาวเกิดขึ้นบริเวณด้านในของเปลือก
การป้องกันรักษา 1. ตัดกิ่งหรือยอดส่วนที่แห้งออก โดยตัดให้ต่ำลงมา 1-2 นิ้ว แล้ทาแผลด้วยสารเคมีป้องกันกำจัดเชื้อรา
2. บำรุงรักษาต้นยางให้สมบูรณ์อยู่เสมอ
3. พยายามแก้ไขสภาพแวดล้อมที่ไม่เหมาะสม เช่น ความแห้งแล้งให้รดน้ำตามความจำเป็น หรือใช้วัสดุคลุมดินรอบโคนต้น
4. ถ้าเกิดโรคระบาดให้ทำการรักษาตามคำแนะนำ
5. การใช้ปุ๋ยและสารเคมีป้องกันกำจัดศัตรูพืช ควรปฏิบัติตามคำแนะนำอย่างเคร่งครัด
อาการที่เกิดจากฟ้าผ่า (D lightning strike)
ลักษณะอาการ พบได้ทุกระยะการเจริญเติบโต ต้นที่ถูกทำลายจะรวมกันเป็นกลุ่ม อาจเป็น 5-6 ต้น หรือหลายสิบต้น อาการจะปรากฏ
ทันทีโดยที่มีใบสีเขียวร่วงเหลือแต่ก้านใบติดอยู่ ลำต้นอาจปริ เปลือกแตก น้ำยางไหล เมื่อเฉือนเปลือกออก พบว่าเนื้อ
เยื่อส่วนที่เป็นท่อน้ำท่ออาหารเป็นสีน้ำตาลเหมือนสีชอคโกแลต ต่อมาเป็นสีม่วงอย่างรวดเร็ว และเป็นสีดำในที่สุด
บริเวณลำต้นอาจพบแผลเน่าเป็นแผ่นๆ ซึ่งทำให้เข้าใจว่าเกิดจากเชื้อรา แผลเน่าจะเกิดทุกแห่งบนลำต้น ขนาดแผล 2-3
ตารางนิ้ว มีของเหลวสีม่วงไหลออกมา ถ้าตัดแผนเน่าออกดูจะเห็นชั้นใต้เปลือกแทนที่จะเป็นสีครีมกลับเป็นสีคล้ายเหล้า
องุ่นซึ่งจะมีสีม่วงแดงใน 2-3 วัน บริเวณโคนต้นส่วนที่ติดกับพื้นดินยังสดอยู่
ทันทีโดยที่มีใบสีเขียวร่วงเหลือแต่ก้านใบติดอยู่ ลำต้นอาจปริ เปลือกแตก น้ำยางไหล เมื่อเฉือนเปลือกออก พบว่าเนื้อ
เยื่อส่วนที่เป็นท่อน้ำท่ออาหารเป็นสีน้ำตาลเหมือนสีชอคโกแลต ต่อมาเป็นสีม่วงอย่างรวดเร็ว และเป็นสีดำในที่สุด
บริเวณลำต้นอาจพบแผลเน่าเป็นแผ่นๆ ซึ่งทำให้เข้าใจว่าเกิดจากเชื้อรา แผลเน่าจะเกิดทุกแห่งบนลำต้น ขนาดแผล 2-3
ตารางนิ้ว มีของเหลวสีม่วงไหลออกมา ถ้าตัดแผนเน่าออกดูจะเห็นชั้นใต้เปลือกแทนที่จะเป็นสีครีมกลับเป็นสีคล้ายเหล้า
องุ่นซึ่งจะมีสีม่วงแดงใน 2-3 วัน บริเวณโคนต้นส่วนที่ติดกับพื้นดินยังสดอยู่
การแก้ไข 1. ขุดต้นที่ตายออก
2. ต้นที่ถูกทำลายบางส่วนให้ตัดส่วนที่แห้งออก แล้วทาด้วยสารกำจัดเชื้อรา
2. ต้นที่ถูกทำลายบางส่วนให้ตัดส่วนที่แห้งออก แล้วทาด้วยสารกำจัดเชื้อรา
หนอนทราย (Cockchafers)
หนอนทรายเป็นตัวหนอนของด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่งซึ่งเป็นศัตรูกัดกินและทำลายรากยาง
ทำให้ต้นยางตายเป็นหย่อมๆ
ลักษณะและวงชีวิต
ตัวเมียวางไข่ในสวนยางอาจเป็นฟองเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มก้อน และฟักเป็นตัวหนอนในอีก 2-3 สัปดาห์ต่อมา
ตัวหนอนมีสีขาว รูปร่างงอเหมือนตัว C ลำตัวยาว 3-5 ซม. อาศัยอยู่ในดิน กินอินทรีย์วัตถุและรากพืชเป็นอาหาร
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจึงขุดดินเป็นโพรงลึกลงไปและสร้างผนังหนาห่อหุ้มตัวเพื่อเข้าดักแด้ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็ง
ขนาดใหญ่ ตัวอ้วนป้อมและสั้น ลำตัวยาว 3-5 ซม. กลางวันหลบซ่อนในดิน ออกบินหากินช่วงพลบค่ำ
ตัวหนอนมีสีขาว รูปร่างงอเหมือนตัว C ลำตัวยาว 3-5 ซม. อาศัยอยู่ในดิน กินอินทรีย์วัตถุและรากพืชเป็นอาหาร
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจึงขุดดินเป็นโพรงลึกลงไปและสร้างผนังหนาห่อหุ้มตัวเพื่อเข้าดักแด้ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็ง
ขนาดใหญ่ ตัวอ้วนป้อมและสั้น ลำตัวยาว 3-5 ซม. กลางวันหลบซ่อนในดิน ออกบินหากินช่วงพลบค่ำ
การทำลาย กินรากยางในระยะต้นเล็กอายุ 6-12
เดือน ทำให้ต้นยางมีอาการใบเหลืองและเหี่ยวแห้งตาย
มักพบในสวนยางที่ปลูก
ทดแทน ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ที่รากของตอยางเก่า และออกมากัดกินรากยางอ่อนและพืชร่วม พืชแซมชนิดอื่นๆ ที่อยู่
ในแปลงยาง เช่น สับปะรด หวาย ลองกอง ทุเรียน มังคุด เนียงนก มะฮอกกานี รวมทั้งหญ้าคา ยังไม่พบความเสีย
หายในต้นยางที่อายุมาก แต่พบว่าตอยางเก่าที่อยู่ในสวนยางจะเป็นแหล่งอาศัยและเป็นแหล่งอาหารของแมลงชนิดนี้
เป็นอย่างดี
ทดแทน ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ที่รากของตอยางเก่า และออกมากัดกินรากยางอ่อนและพืชร่วม พืชแซมชนิดอื่นๆ ที่อยู่
ในแปลงยาง เช่น สับปะรด หวาย ลองกอง ทุเรียน มังคุด เนียงนก มะฮอกกานี รวมทั้งหญ้าคา ยังไม่พบความเสีย
หายในต้นยางที่อายุมาก แต่พบว่าตอยางเก่าที่อยู่ในสวนยางจะเป็นแหล่งอาศัยและเป็นแหล่งอาหารของแมลงชนิดนี้
เป็นอย่างดี
การระบาด ระบาดในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
พบระบาดในพื้นที่ที่ดินเป็นดินร่วนปนทราย
การป้องกันกำจัด 1.
ดักจับตัวเต็มวัยช่วงเดือนมีนาคม- พฤษภาคม
ด้วยกับดักแสงไฟหรือตาข่ายในช่วงพลบค่ำ
จะช่วยลดปริมาณแมลงได้เป็นอย่างดี
2. ปลูกตะไคร้เพื่อล่อตัวหนอนให้ออกมาแล้วนำไปทำลาย
3. ใช้สารเคมีราดรอบโคนต้นยางและตอยางเก่าแล้วกลบดิน
2. ปลูกตะไคร้เพื่อล่อตัวหนอนให้ออกมาแล้วนำไปทำลาย
3. ใช้สารเคมีราดรอบโคนต้นยางและตอยางเก่าแล้วกลบดิน
หนอนทรายเป็นตัวหนอนของด้วงปีกแข็งชนิดหนึ่งซึ่งเป็นศัตรูกัดกินและทำลายรากยาง
ทำให้ต้นยางตายเป็นหย่อมๆ
ลักษณะและวงชีวิต
ตัวเมียวางไข่ในสวนยางอาจเป็นฟองเดี่ยวๆ หรือเป็นกลุ่มก้อน และฟักเป็นตัวหนอนในอีก 2-3 สัปดาห์ต่อมา
ตัวหนอนมีสีขาว รูปร่างงอเหมือนตัว C ลำตัวยาว 3-5 ซม. อาศัยอยู่ในดิน กินอินทรีย์วัตถุและรากพืชเป็นอาหาร
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจึงขุดดินเป็นโพรงลึกลงไปและสร้างผนังหนาห่อหุ้มตัวเพื่อเข้าดักแด้ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็ง
ขนาดใหญ่ ตัวอ้วนป้อมและสั้น ลำตัวยาว 3-5 ซม. กลางวันหลบซ่อนในดิน ออกบินหากินช่วงพลบค่ำ
ตัวหนอนมีสีขาว รูปร่างงอเหมือนตัว C ลำตัวยาว 3-5 ซม. อาศัยอยู่ในดิน กินอินทรีย์วัตถุและรากพืชเป็นอาหาร
เมื่อเจริญเต็มที่แล้วจึงขุดดินเป็นโพรงลึกลงไปและสร้างผนังหนาห่อหุ้มตัวเพื่อเข้าดักแด้ ตัวเต็มวัยเป็นแมลงปีกแข็ง
ขนาดใหญ่ ตัวอ้วนป้อมและสั้น ลำตัวยาว 3-5 ซม. กลางวันหลบซ่อนในดิน ออกบินหากินช่วงพลบค่ำ
การทำลาย กินรากยางในระยะต้นเล็กอายุ 6-12
เดือน
ทำให้ต้นยางมีอาการใบเหลืองและเหี่ยวแห้งตาย มักพบในสวนยางที่ปลูก
ทดแทน ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ที่รากของตอยางเก่า และออกมากัดกินรากยางอ่อนและพืชร่วม พืชแซมชนิดอื่นๆ ที่อยู่
ในแปลงยาง เช่น สับปะรด หวาย ลองกอง ทุเรียน มังคุด เนียงนก มะฮอกกานี รวมทั้งหญ้าคา ยังไม่พบความเสีย
หายในต้นยางที่อายุมาก แต่พบว่าตอยางเก่าที่อยู่ในสวนยางจะเป็นแหล่งอาศัยและเป็นแหล่งอาหารของแมลงชนิดนี้
เป็นอย่างดี
ทดแทน ตัวหนอนจะอาศัยอยู่ที่รากของตอยางเก่า และออกมากัดกินรากยางอ่อนและพืชร่วม พืชแซมชนิดอื่นๆ ที่อยู่
ในแปลงยาง เช่น สับปะรด หวาย ลองกอง ทุเรียน มังคุด เนียงนก มะฮอกกานี รวมทั้งหญ้าคา ยังไม่พบความเสีย
หายในต้นยางที่อายุมาก แต่พบว่าตอยางเก่าที่อยู่ในสวนยางจะเป็นแหล่งอาศัยและเป็นแหล่งอาหารของแมลงชนิดนี้
เป็นอย่างดี
การระบาด ระบาดในช่วงเดือนตุลาคม-ธันวาคม
พบระบาดในพื้นที่ที่ดินเป็นดินร่วนปนทราย
การป้องกันกำจัด 1.
ดักจับตัวเต็มวัยช่วงเดือนมีนาคม- พฤษภาคม
ด้วยกับดักแสงไฟหรือตาข่ายในช่วงพลบค่ำ จะช่วยลดปริมาณแมลงได้เป็นอย่างดี
2. ปลูกตะไคร้เพื่อล่อตัวหนอนให้ออกมาแล้วนำไปทำลาย
3. ใช้สารเคมีราดรอบโคนต้นยางและตอยางเก่าแล้วกลบดิน
2. ปลูกตะไคร้เพื่อล่อตัวหนอนให้ออกมาแล้วนำไปทำลาย
3. ใช้สารเคมีราดรอบโคนต้นยางและตอยางเก่าแล้วกลบดิน
ปลวก (Termites)
ในสวนยางมีปลวกอาศัยอยู่หลายชนิด
ส่วนใหญ่กัดกินรากพืชที่ตายแล้วเป็นอาหารและให้ประโยชน์ในการให้อินทรีย์วัตถุแก่ดิน มีเพียงชนิดเดียวที่ทำลายต้นยางสด คือ Coptotermes curvignathus
ลักษณะและวงชีวิต ปลวกเป็นแมลงสร้างรังอยู่ในดิน
มีชีวิตรวมกันอยู่เป็นสังคม มีรูปร่างต่างกันไปตามวรรณะ ปลวกที่ทำลายต้นยาง
เป็นวรรณะนักรบ สังเกตได้จากกรามที่มีขนาดใหญ่ เมื่อใช้กรามงับสิ่งของจะขับของเหลวคล้ายน้ำนมออกมาจาก
ส่วนหัวตอนหน้าทันที ปลวกแต่ละรังมีจำนวนนับพันนับหมื่นตัว โดยฟักออกจากไข่และเจริญเป็นตัวเต็มวัยโดย
การเปลี่ยนรูปร่างที่ละน้อย โดยไม่ผ่านดักแด้
เป็นวรรณะนักรบ สังเกตได้จากกรามที่มีขนาดใหญ่ เมื่อใช้กรามงับสิ่งของจะขับของเหลวคล้ายน้ำนมออกมาจาก
ส่วนหัวตอนหน้าทันที ปลวกแต่ละรังมีจำนวนนับพันนับหมื่นตัว โดยฟักออกจากไข่และเจริญเป็นตัวเต็มวัยโดย
การเปลี่ยนรูปร่างที่ละน้อย โดยไม่ผ่านดักแด้
การทำลาย ต้นยางที่ถูกทำลายส่วนมากจะมีอาการใบเหลืองเหมือนโรคราก ทำลายลำต้นยางได้ทุกระยะ โดยการกัดกินรากและ
โคนต้น ต้นยางที่ปลูกใหม่จะถูกทำลายอย่างรวดเร็ว ต้นยางใหญ่ที่ถูกทำลายจะไม่สามารถมองเห็นลักษณะการ
ทำลายจากภายนอกได้เลย จนกระทั่งต้นยางโค่นล้มเพราะถูกลมพัดแรงหรือต้องขุดรากขึ้นดูจึงจะเห็นโพรงปลวกที่
โคนราก
การระบาด พบมากในพื้นที่ดินเป็นลูกรัง
การป้องกันกำจัด ทำได้ยากเนื่องปลวกมีชีวิตร่วมกันแบบสังคมและอาศัยอยู่ใต้ดิน วิธีจะป้องกันกำจัดได้ก็โดยใช้สารเคมีที่เป็นของเหลว
ราดรอบโคนต้น เพื่อให้ซึมลงไปตามรากโดยการขุดดินเป็นร่องแคบๆ ที่โคนต้น เพื่อป้องกันไม่ให้สารเคมีซึมขยาย
ออกไปมากเกินไป
ราดรอบโคนต้น เพื่อให้ซึมลงไปตามรากโดยการขุดดินเป็นร่องแคบๆ ที่โคนต้น เพื่อป้องกันไม่ให้สารเคมีซึมขยาย
ออกไปมากเกินไป
เพลี้ยหอย (Scale insects)
เพลี้ยหอยที่พบบนต้นยางมี 2
จำพวก คือ
พวกที่ไม่มีเกราะหุ้มตัว และพวกที่มีเกราะหุ้มตัว เพลี้ยทำลายต้นยางโดยการดูดกินน้ำเลี้ยงตรงส่วนที่เป็นสีเขียว ทำให้ต้นยางชงักการเจริญเติบโต
มักพบในเรือนเพาะชำหรือบนต้นยางอ่อน
ลักษณะและวงชีวิต ตัวอ่อนเมื่อเริ่มออกจากไข่จะมีขาสามารถเคลื่อนที่ได้ แต่หลังจากลอกคราบแล้วขาจะหายไป เมื่อเริ่มเจาะดูดน้ำ
เลี้ยงจะไม่เคลื่อนที่ พร้อมสร้างเกราะหุ้มตัวเอง ที่พบบนต้นยางเป็นตัวเมียที่สร้างเกราะหนาไว้ป้องกันตัวและอยู่
กับที่ตลอดไป เกราะจะมีขนาด 3-5 มม. สีน้ำตาลแก่ ตัวผู้ไม่มีปากดูด ขนาดเล็กกว่าตัวเมีย มีปีกและบินได้
เลี้ยงจะไม่เคลื่อนที่ พร้อมสร้างเกราะหุ้มตัวเอง ที่พบบนต้นยางเป็นตัวเมียที่สร้างเกราะหนาไว้ป้องกันตัวและอยู่
กับที่ตลอดไป เกราะจะมีขนาด 3-5 มม. สีน้ำตาลแก่ ตัวผู้ไม่มีปากดูด ขนาดเล็กกว่าตัวเมีย มีปีกและบินได้
การทำลาย ส่วนของกิ่งก้านที่ถูกเพลี้ยหอยดูดกินจะเหี่ยวดำ และมีซากเพลี้ยหอยเกาะกิ่งก้านที่มันเกาะ ต่อมากิ่งก้านนั้นจะแห้ง
ตาย ถ้ามีจำนวนมากจะลุกลามไปส่วนอื่น
ตาย ถ้ามีจำนวนมากจะลุกลามไปส่วนอื่น
การระบาด ช่วงอากาศแห้งแล้ง
การป้องกันกำจัด 1. โดยธรรมชาติเพลี้ยหอยจะถูกศัตรูธรรมชาติ เช่น
แมลงและรา เข้าทำลายไข่และตัวอ่อนของมัน
2. ใช้สารเคมี
2. ใช้สารเคมี